The languaging curriculum

               Richard Watson Todd   Most English language teaching (ELT) aims to get students to match the standard norms of the language with mismatches, Read more

How is English assessed at Thai schools?

Richard Watson Todd   “The consequences of testing and grading students are immense. They can determine the colleges students attend, the careers open to them, and the lifestyles they ultimately Read more

How is English assessed at Thai schools?

<TH/EN>   How is English assessed at Thai schools? Richard Watson Todd   “The consequences of testing and grading students are immense. They can determine the colleges students attend, the Read more

ASEAN, English, and testing

  <TH/EN>   ASEAN, English, and testing Richard Watson Todd   With the ASEAN Economic Community approaching fast, English, as the language of communication in ASEAN, is growing in importance. Read more

จิตไร้สำนึกกับการตัดสินใจในเสี้ยววินาที

  เมื่อใครก็ตามถามคุณตรงๆ เกี่ยวกับทัศนคติของคุณ คุณพูดตรงกับใจทุกครั้งหรือไม่ มีเหตุผลมากมายที่ทำให้หลายคนไม่ได้พูดตรงกับใจทุกครั้งไป อาจเพราะกลัวหรืออายที่จะพูดความจริง เกรงใจและต้องการรักษาน้ำใจผู้ฟัง หรือแม้แต่ต้องการสร้างภาพให้ตัวเอง ยิ่งไปกว่านั้นบางครั้งก็เป็นเรื่องยากจริงๆ ที่เราจะรู้ว่าแท้จริงแล้วเราคิดอย่างไร แล็ปด้านจิตวิทยา จากความร่วมมือของมหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหรัฐอเมริกาและอีกหลายประเทศ ได้สร้าง Implicit Association Test (IAT) เป็นเครื่องมือศึกษาบทบาทของจิตไร้สำนึกซึ่งจะเกี่ยวข้องกับความเชื่อและพฤติกรรมของเรา IAT ใช้หลักการสร้างความเชื่อมโยงที่รวดเร็วของความคิดที่เป็นคู่กันโดยไม่มีเวลาคิดตรึกตรอง ซึ่งก็คือ ‘จิตไร้สำนึก’ นั่นเอง เนื่องจากเราจะใช้เวลามากกว่าแม้เพียงชั่วพริบตาในการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เราไม่คุ้นเคยหรือมีความขัดแย้งในใจ มีแบบทดสอบที่น่าสนใจมากมายบนเว็บไซต์ของ IAT (https://implicit.harvard.edu/implicit/) เช่น Asian IAT Read more

การวิเคราะห์การพูดกับตัวเองในระหว่างการคุยออนไลน์: หัวข้อวิจัยด้านจิตวิทยาสังคมภาษา

การวิเคราะห์คำพูด หรือ Conversation Analysis (เรียกสั้นๆ ว่า CA) เป็นศาสตร์ใหม่แขนงหนึ่งของสาขาภาษาศาสตร์และการสื่อสารระหว่างบุคคลที่ตอบคำถามหลักที่ว่า “คนเราคุยกันอย่างไรและทำอย่างไรถึงเกิดความเข้าใจขึ้น” เพราะสังคมจะเป็นสังคมได้นั้น สมาชิกในสังคมต้องพูดกันและสื่อสารกันเพื่อให้เกิดความเขาใจระหว่างกัน ในทางทฤษฎีข้อมูลที่ใช้ในวิจัย CA คือบทสนทนาที่คน 2 คนผลัดกันพูด (เรียกว่า Turn-Talking Systems) เพื่อทำอีกฝ่ายเข้าใจและโต้ตอบได้อย่างสอดคล้องต่อเนื่องกัน โดยเน้นว่าบทสนทนาจะต้องมาจากบทสนทนาที่เป็นธรรมชาติเท่านั้น โดยไม่ได้รับอิทธิพลและไม่ได้ถูกวางแผนโดยผู้วิจัย การสนทนาระหว่างเพื่อนตอนคุยกันทางโทรศัพท์หรือตอนที่สมาชิกในครอบครัวคุยกันระหว่างรับปะทานอาหารเย็น เป็นตัวอย่างบทสนทนาที่เป็นธรรมชาติมากที่สุด ข้อจำกัดของข้อมูลของการวิจัย CA คือเราไม่สามารถเข้าถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในหัวของผู้พูด เราเลยไม่รู้ว่าผู้พูดคิดนึกอะไรอยู่หรือคิดที่จะพูดอะไรออกไป หรือทำไมเขาถึงพูดออกมาอย่างนั้น เราเรียกสิ่งที่ผู้พูดคิดอยู่ในหัวว่า Read more

เรื่องของขนาดชั้นเรียน …ใหญ่แค่ไหนคือใหญ่เกิน

ริชาร์ด วัตสัน ทอดด์   ในด้านการศึกษา ขนาดชั้นเรียนเป็นเรื่องน่าห่วง พวกเราในฐานะครูคงจะคิดฝันว่าอยากจะสอนห้องเรียนที่มีนักเรียนสักแค่ 12 คน ซึ่งเป็นขนาดเล็กพอที่ทุกคนในห้องจะได้รับความเอาใจใส่ แต่ก็ใหญ่พอที่จะช่วยให้ทุกคนได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันได้ แต่ในความเป็นจริง ข้อจำกัดในทางปฏิบัติและค่าใช้จ่ายทำให้การมีนักเรียนห้องละ 40, 60 หรือแม้แต่ 100 คน คล้ายกับเป็นบรรทัดฐานไปแล้วก็ว่าได้ ห้องเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ คำถามที่เกิดขึ้นคือขนาดชั้นเรียนใหญ่แค่ไหนที่จะมีผลกระทบให้การเรียนรู้แย่ลงอย่างเห็นได้ชัด   ที่น่าแปลกใจก็คือ ทั้งๆที่คำถามนี้สำคัญอย่างไม่ต้องสงสัย แต่ที่ผ่านมา ไม่มีงานวิจัยที่ศึกษาผลเสียของขนาดชั้นเรียนต่อการเรียนรู้ในชั้นเรียนภาษาต่างประเทศ เช่น ชั้นเรียนภาษาอังกฤษในมหาวิทยาลัยในประเทศไทยเลย งานวิจัยส่วนมากจะสนใจความเชื่อและความคิดเห็นของครูต่อขนาดชั้นเรียน และระบุปัญหาที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนขนาดใหญ่ซึ่งส่งผลให้การเรียนรู้ลดลงได้ Read more