Ethics in Research

Downloadable Manuals & Handbooks

KMUTT Institutional Review Board https://ethics.kmutt.ac.th/irb/

KMUTT IRB Form https://ethics.kmutt.ac.th/documental/

A Handbook for SoLA Staff and Students(english | thai)
Request & Research Ethics Approval(english | thai )
Research Consent Form(english | thai)
Research Consent Form for Minors (english | thai)
Attribution Consent Form(english | thai)
Guidelines for publishing research(english | thai)
  

Research Regulations for SoLA funding

Previous situation

Previously, SoLA funding for research has only been available for academic publishable research. Receipt of funding has also entailed the recipient in producing a long (often 100 pages) report of the research. This previous situation is problematic for three reasons:

  • The need to produce a long research report may act as a disincentive to applying for research funding for some staff.
  • The focus on purely academic research restricts the number of staff who could apply. While Social Studies academic research often requires funding, this is not the case for Language department research.
  • The value of conducting research where the main product is an internal report is dubious.

For these reasons, the CRS has proposed some alternatives. These alternatives have two aspects: the types of research possible, and the forms of reporting the research.

Types of research

  1. Publishable research
    This type most closely matches traditional interpretations of research. Typically, the product of this research is, ideally, an article for publication in an international refereed journal. The paradigms of research covered here, however, are not restricted to traditional psychometric approaches, but also include, for instance, ethnographic research, policy research and document research.

    Product for evaluation of funding: academic article.
  2. Developmental research
    The purpose of this research is to collect information useful to the development of the department, faculty or university. For this reason, the results may not be publishable, but should be targeted at real-world applications for developing the department etc.

    Product for evaluation of funding: report written for a targeted audience (e.g. the Dean)
  3. Socially active research
    This research is usually much smaller in scale than traditional research, and so does not necessarily produce results reportable in a traditional article format (although this is possible). Rather, the purpose of the research is to highlight some aspect of society/culture that is a cause for concern. The results of the research may be disseminated through social, rather than academic, media, such as newspapers.

    Product for evaluation of funding: short report plus some form of social dissemination (e.g. newspaper article)
  4. Product research
    The purpose of this type of research is not to conduct an investigation, but rather to produce some new product of use to the faculty, university or society. This may include computer programmes, databases, and the like. An example is producing a computer programme to enable the portfolios in LNG101 and LNG102 to be fully automated.

    Product for evaluation of funding: the product itself plus a short report.

Even where there is no explicit statement of the need for conducting traditional-style research, all four types should include a clear research element (such as the collection and analysis of data).

SoLA funding (ไทย)

Research Regulations in SoLA

SoLA allocates approximately 1,000,000 baht per year to support and promote research. There are 12 main ways in which this funding can be used:

  1. Research project funding
  2. Minor cost research project funding
  3. Research funding for postgraduate student projects
  4. Funding for conferences for staff
  5. Funding for conferences for students
  6. Funding for staff research training
  7. Funding for staff to join academic societies
  8. Funding for proofreading articles
  9. Funding for journal submission and publication fees
  10. Strategic project for developing mid-level researchers
  11. Funding for SoLA staff research development
  12. Funding for high-level research groups

Although the amounts will vary year by year, it is expected that on average funding for research projects will account for about half of the total funding and conference funding will account for about a quarter.

In addition to these, FTERO funding is used for Staff Research Development Funding (see Appendix).

All cases of SoLA research funding are assigned a code number, and, where appropriate, this should be used in acknowledgements of sources of funding in publications. Decisions about funding are made by either the Research Funding Board or the Associate Dean for Research, as detailed below.

Research Project Funding

Funding applications are welcomed for research projects. Applications can be made for funding of between 10,000 and 500,000 baht. Four types of research project are funded:

1. Publishable research

This type most closely matches traditional interpretations of research. Typically, the product of this research is, ideally, an article for publication in an international refereed journal. The paradigms of research covered here, however, are not restricted to traditional psychometric approaches, but also include, for instance, ethnographic research, policy research and document research.
Product for evaluation of funding: academic article.

2. Developmental research

The purpose of this research is to collect information useful to the development of the department, faculty or university. For this reason, the results may not be publishable, but should be targeted at real-world applications for developing the department etc.
Product for evaluation of funding: report written for a targeted audience (e.g. the Dean)

3. Socially active research

This research is usually much smaller in scale than traditional research, and so does not necessarily produce results reportable in a traditional article format (although this is possible). Rather, the purpose of the research is to highlight some aspect of society/culture that is a cause for concern. The results of the research may be disseminated through social, rather than academic, media, such as newspapers.
Product for evaluation of funding: short report plus some form of social dissemination (e.g. newspaper article)

4. Product research

The purpose of this type of research is not to conduct an investigation, but rather to produce some new product of use to the faculty, university or society. This may include computer programs, databases, and the like. An example is producing a computer program such as the KeyBNC program to generate keywords from a corpus.
Product for evaluation of funding: the product itself plus a short report.

Even where there is no explicit statement of the need for conducting traditional-style research, all four types should include a clear research element (such as the collection and analysis of data). Note that there is no need to submit a formal research report to SoLA, but any publications resulting from funding should be reported.

Proposals for funding should include the following information:

1. Name of project
2. Name(s) of researchers
3. Justification for research

The justification for conducting the research may differ depending on the type and purposes of the research:

Publishable academic research
The justification is likely to consist of a literature review indicating a reason for conducting the research (e.g. a gap in the knowledge of the field).
Developmental research
The justification is likely to consist of a summary of the current situation together with some evidence of problems which the proposed research could solve.
Socially active research
A reason for why the social concern is of interest and why an investigation will lead to interesting data is needed. This justification may include academic literature, media reports or informant data.
Product research
Depending on the nature of the product, the justification may include a literature review, an analysis of a current situation or previous informal data collection or experience.

4. Project procedures

The procedures should give a clear picture of the stages of work in the project. For academic research, the procedures are likely to mirror the research methodology. For other types, clear stages of procedures with justifications for key decisions are needed.

5. Project product

Especially for product research, a clear description of the expected product with its uses is needed.

6. Budget

Priority in funding will be for staff who have either not applied previously or who have a record of successfully completing projects. Decisions about Research Project Funding are made by the Research Funding Board.

Minor Cost Research Project Funding

To expedite funding decisions, for projects where only minor funding is needed, a simpler process can be used.

Regulations for minor-cost project funding

  1. Proposals can be submitted by any full-time working member of staff of SoLA.
  2. Proposals can be submitted at any time.
  3. Proposals can ask for funding up to a maximum of 10,000 baht.
  4. Only one proposal can be submitted for one research project.
  5. Proposals should include the following information: researcher’s name, title of research project, concise (1 paragraph) description of the project, and details of budget required.
  6. Proposals can be written in either Thai or English.
  7. Decisions about Minor Cost Research Funding are made by the Associate Dean for Research (ideally within one week of submission of the proposal).
  8. Standard receipts for reimbursements of costs are needed (as with normally funded research projects).
  9. If costs are for the purchase of a book or similar text, the book should be donated to the Resource Centre on completion of the research.
  10. Costs can only be reimbursed within the financial year in which the proposal is approved (i.e. before the end of August (to allow clearing) of the financial year).

Research Funding for Postgraduate Student Projects

To maximise the potential for SoLA-based publications, postgraduate students of SoLA can apply for funding to facilitate their research. Any funds for postgraduate student research should result in products matching key indicators, such as research publications.

Regulations for disbursement of research funding for postgraduate student projects:
The funds to support SoLA postgraduate student research will be disbursed based on the following regulations:

  1. The maximum amount for a PhD student is 20,000 baht, and for an MA student is 7,000 baht if studying for a 12-credit thesis and 5,000 baht if studying a 3-credit special study or 6-credit thesis.
  2. The funding must be essential for completion of the research.
  3. A research article must be written for the funded research and a serious attempt made to publish the article.
  4. The student’s supervisor(s) must be closely involved in the research.
  5. The research article must be published as a joint publication between the student and the supervisor(s).
  6. Before asking for SoLA funding, an attempt to find funding from outside SoLA should be made.
  7. The student and supervisor(s) must apply jointly for the funding.
  8. Funding will typically be given to cover travel costs or essential purchasing costs (for products not otherwise available in SoLA). Costs for hiring people (such as transcribers) will NOT be covered, except for DASU and proofreading of an article for publication (NOT the thesis), and work which involves skills not expected of the student (e.g. computer programming).
  9. Reimbursements for costs can only be made on production of formal receipts.
  10. If the funding is for books, software or other concrete products, at the end of the project these must be given to SoLA.
  11. Decisions about Research Funding for Postgraduate Student Projects are made by the Associate Dean for Research.

For Research Funding for Postgraduate Student Projects, Application Forms 21E (English) and 21T (Thai) can be used.

Funding for Conferences for Staff

SoLA staff may receive funding for conferences from two sources.

1. University funding for international conferences

Conditions for allocating funds:

1.1 Maximum funding of once per budget year
1.2 A maximum of:
30,000 baht for international conferences in Asia
50,000 baht for international conferences outside Asia
Funding must follow actual costs
1.3 If the staff have already been granted such funding once, they will be eligible for the next application for conference funding only if they have academic work published in a refereed international journal.

2. SoLA funding

SoLA funding for conferences for staff is restricted to 10,000 baht per person per year (irrespective of whether the conference is in Thailand or abroad). Staff who have been working in SoLA for fewer than three years have the right to up to 20,000 baht per person per year.

SoLA conference funding covers registration fee, transportation between cities/countries and accommodation. Costs for per diem or transportation within cities are not covered. Decisions about funding will be made by the Associate Dean for Research.

SoLA conference funding covers costs where payment is made after the date of approval of the application for funding. Payments made before the application is approved will not be covered. The applicant must be the main presenter (first author).

Staff can ask for a specific exception, for example, for specialized conferences that allow the staff member to gain specific skills and knowledge. Staff must submit a proposal which provides a clear justification for potential benefits that will be derived from the conference. In such cases, the justification must go beyond presenting a paper and general networking. The decision on exceptional cases will be made by the Research Funding Board.

SoLA provides funding for conferences announced on the monthly conference list on the SoLA website. Conditions for allocating funds are as follow.

(1) Application for conferences coded as green will be funded.
(2) Application for conferences coded as red will NOT be funded.
(3) Application for conferences coded as orange or other conferences not included in the monthly conference list may be rejected. Preference is for conferences with published proceedings. If not, the applicant must promise to write an article concerning the presentation and try to publish the article within 1 year after the conference.

For Funding for Conferences for Staff, the Application Form for Conference Funding for Staff can be used. Decisions are made by the Associate Dean for Research.

Funding for Conferences for Students

To promote publications and enhance student development, students can request funding for conference registration fees from the SoLA research funds.

Conditions for allocating funds

  1. Maximum funding of once per year per person (unless there is a persuasive reason otherwise).
  2. Each PhD student can only receive funding twice, and each Masters student only once.
  3. For students in the Department of Language, the conference must be an international conference. For students in the Department of Social Studies, international conferences are preferred, but national conferences are acceptable.
  4. The applicant must be presenting a paper at the conference.
  5. Funding will cover registration fees only (at Student or Early Bird rates where applicable).
  6. The applicant must promise to write an article concerning their presentation (either for conference proceedings or for journal publication). The research article must be published as a joint publication between the student and the supervisor(s).
  7. Funding will only be provided for conferences where the student has not applied for any other sources of funding.
  8. The maximum amount allowed is 5,000 baht.
  9. The applicant should be able to show that their attendance at the conference will raise the profile of SoLA and/or lead to useful new contacts.
  10. SoLA conference funding covers costs where payment is made after the date of approval of the application for funding. Payments made before the application is approved will not be covered.
  11. Priority will be given to requests for smaller amounts of support.

The application should be made before the conference, and the actual conference receipt used to claim reimbursement afterwards. Decisions on Funding for Conferences for Students will be made by the Associate Dean for Research. For Funding for Conferences for Students, Application Forms 22E (English) and 22T (Thai) can be used.

Funding for Staff Research Training

This funding aims support SoLA staff to upgrade their research skills and knowledge.

Purposes of funding for research training
While most academic staff in SoLA have received training in research methods, it is important that staff’s skills and knowledge are kept up-to-date and that new research skills and knowledge are learnt. While some funding is available through departments, this funding is used primarily to support staff to present at conferences, and little is available for attending workshops. Also, although SoLA attempts to run research-focused workshops on a regular basis, these are limited in topic, scope and frequency. Therefore funding is available for SoLA academic staff to attend workshops to upgrade their research skills and knowledge.

There are frequent workshops run by other universities, by the National Research Council, and by other organisations aimed at upgrading participants’ research knowledge and skills. Typical topics covered include statistics, qualitative data analysis, using computer programs in research, and writing research proposals. Most workshops last 1-2 days (with a maximum of 5 days) and cost 500-2,000 baht (with a maximum of 8,000 baht). Information about such workshops is distributed to staff by e-mail.

Regulations for receiving funding for research training

  1. Funding is available for all full-time academic staff in SoLA.
  2. Funding is available for research training workshops up to a maximum of 5 days and a maximum of 10,000 baht per workshop. Priority will be given to workshops held in Bangkok and nearby provinces.
  3. Funding covers reimbursement of the registration fee for the workshop.
  4. Staff receiving funding should submit a copy of the registration form and a receipt of payment for reimbursement.
  5. Any useful handouts from the workshop should be copied so that they can be accessed in the Resource Centre by other interested parties.

Decisions on Funding for Staff Research Training will be made by the Associate Dean for Research. For Funding for Staff Research Training, Application Forms 13E (English) and 13T (Thai) can be used.

Funding for Staff to Join Academic Societies

At the CRS Board meeting in July 2010, it was proposed that funding should be provided for SoLA staff to join academic societies related to research, to enable staff to gain new knowledge, to provide networking opportunities, and to promote KMUTT.

To calculate the amount of funding needed, typical costs for joining academic societies need to be investigated. Generally, costs for Thai academic societies are low, so funding considerations depend more on costs for joining international academic societies. Typical costs are:

British Association of Applied Linguistics                 55UKP (2,750 baht)
American Association of Applied Linguistics            $115 (3,700 baht)
Society for Personality and Social Psychology          $38 (1,250 baht)
European Association for Social Psychology             72EU (3,000 baht)
There are likely to be extra money transfer costs for international transfers (say, 100 baht).

Regulations for funding

  1. The association for which membership is being applied for must concern research. For example, IATEFL is primarily concerned with teaching and so would not be appropriate (unless the application was for the Research SIG), whereas BAAL would be appropriate.
  2. One staff member can only apply for one membership per year.
  3. Any journals, materials etc. which the staff member receives through their membership should be donated to the Resource Centre within 2 months of receipt.
  4. The maximum amount of funding per application is 10,000 baht.

Decisions on Funding for Staff to Join Academic Societies will be made by the Associate Dean for Research. For Funding for Staff to Join Academic Societies, Application Forms 14E (English) and 14T (Thai) can be used.

Funding for Proofreading Articles

As more staff attempt to publish in higher-quality places of publication, there is an increased need for professional editing and proofreading services.

SoLA will provide funding for professional editing/proofreading in cases where:

  1. The article to be edited has been provisionally accepted for publication on condition that professional editing is completed.
  2. The place of publication is either an international refereed journal in a major database or a collection of articles published by a major international publisher.

The author should use an editing/proofreading service recommended by the editor/publisher. The author should engage the service and pay for it. The author can then submit an application for reimbursement. Only standard rates will be reimbursed. The application should include the following:

  1. A copy of the communication from the editor/publisher requesting that the article be edited professionally.
  2. A copy of the invoice for the editing services.
  3. A copy of the payment slip.

Applications for reimbursement for proofreading articles can be approved by the Associate Dean for Research up to the value of 15,000 baht. Application Form 15E can be used.

Funding for Journal Submission and Publication Fees

With the move towards open-access publishing of research, many journals now require authors to pay submission and/or publication fees. The university provides funds to cover fees for journals in major international databases, but fees for Thai journals are not covered.

Sample fees for Thai journals are:

The BU Academic ReviewSubmission: 3,000 baht
Journal of Urban Culture ResearchNo fee
Journal of Business AdministrationSubmission: 4,000 baht
Human Resource and Organization Development JournalSubmission: 1,000 baht
Publication: 2,000 baht
Hatyai Academic JournalThai language: 3,000 baht
English language: 4,000 baht

SoLA will provide funding to cover submission and publication fees for Thai journals as follows:

  1. Funding is available for all full-time staff in SoLA.
  2. The journal must be in the TCI Tier 1 database. Staff for whom the article is their first published article can receive funding for both TCI Tier 1 and TCI Tier 2 journals.
  3. Fees are reimbursed after acceptance of the article. In other words, fees payable on publication are automatically funded, but submission fees are only reimbursed if the article is accepted (if the article is rejected, staff have to cover the fees themselves).
  4. Fees for publishing in either Thai or English are covered, but fees for express publication are not covered.
  5. The SoLA staff member applying for funding must be the first author or corresponding author, or the second author if the first author is a postgraduate student in SoLA.
  6. Maximum funding of once per year per person.
  7. The maximum amount of funding per application is 5,000 baht.

The author should pay the fee first. On acceptance of the article, the author can then submit an application for reimbursement. The application should include the following:
1.    A copy of the letter of acceptance from the editor.
2.    A copy of a document stating the journal fee required.
3.    A copy of the payment slip.

Applications for reimbursement for journal publication fees can be approved by the Associate Dean for Research. Application Forms 16T (Thai) or 16E (English) can be used.

Strategic Project for Developing Mid-level Researchers

To promote international collaboration and publication in Q1 international journals, this project aims to provide substantial support for a promising mid-level researcher (SoLA academic staff). A promising staff member is selected by SoLA administrators and invited to submit a proposal for this project. It is likely that one staff member will request funding for this project every 2 years.

The selected staff member should contact a well-known well-published researcher to collaborate on a research project aiming at a joint international refereed journal publication. The collaboration involves a lengthy visit to work with the international researcher (exposing the staff member to a non-Thai university environment and promoting contacts beyond the researcher). International researchers should be chosen based on additional benefits beyond the conducting of the focus study.

The staff member needs to submit a project for research project funding (as above) initially. Once passed, the staff identifies potential collaborators and submits a second proposal to the Associate Dean for Research justifying the choice of collaborator. After approval, the staff member contacts the collaborator to confirm that the project is possible. If the collaborator agrees, the staff member then submits a budget for consideration by the Research Funding Board. In addition to the research project funding already submitted, funding can cover travel costs for the staff member, accommodation, other necessary expenses (e.g. visa, passport, travel insurance), and a fee for the collaborating university or an honorarium for the collaborating academic.

It is expected that the staff member will spend up to a month at the collaborator’s university. A major research publication is expected to result from the project, and the staff member receiving funding is expected to give a presentation about their experiences on their return (for example, in Research Discussions).

Funding for SoLA Staff Research Development

This funding aims to help SoLA staff create research networks with international researchers, collaborate on research projects with international researchers, and gain international experience. Staff wishing to apply need to contact an international researcher and collaboratively develop a plan for research and staff development. The funding is intended to cover costs of travelling to visit and work with the international researcher.

Regulations for receiving funding for staff research development:

  1. Funding is available for full-time academic staff in SoLA.
  2. The expected length of a visit is one to two weeks.
  3. Funding covers travel and accommodation costs and other necessary expenses (e.g. visa, passport, travel insurance) up to a maximum of 40,000 baht per person.
  4. A maximum of 3 staff members can receive funding in a year.
  5. A staff member has the right to funding once in a 3-year period.
  6. Applications for funding should include details of the international researcher, a description of the plan for research/staff development, a communication by the international researcher indicating a willingness to collaborate, a rationale justifying the benefits of the collaboration, and an expected budget.
  7. Staff receiving funding are expected to give a presentation about their experiences on their return (for example, in Research Discussions).
  8. A research publication should result from the collaboration with the international researcher.

Decisions on funding for SoLA staff research development are made by the Research Funding Board.

Funding for high-level research group

SoLA allocates 200,000 baht per year to fund high-level research groups. This funding is designed to allow flexibility in research and to allow research groups to explore potential topics as pilots to confirm their likelihoods of being viable research projects. It is expected that research groups using these funds will proceed to submit formal research proposals to external funders based on the initial results.

Research groups eligible to receive this funding must comply with the following criteria:

  1. The research group must include at least 3 SoLA academic staff members.
  2. The research group can include outsiders but at least 60% of members of the group must be SoLA staff. The research group leader must be a SoLA staff member.
  3. The research group must show a clear record of previous high-quality research. This can be shown through:
    a. A combined h-index for the members of the research group of at least 12.
    b. At least 5 previous publications in Scopus Q1 journals by members of the group in the previous 5 years.
    c. A record of previous external research funding where members of the group have received at least 1 million baht in external research funds in the previous 3 years as project leaders.

Note: These criteria apply to the SoLA staff in the research group and will be re-evaluated every 3 years.

Procedures

At the start of each budget year, applications from research groups to be considered as eligible for Funding for high-level research groups will be solicited using Application Form 17E (English) or Application Form 17T (Thai). Applications will be considered for eligibility by the CRS Board. The total amount of funds available will be divided equally between the eligible groups.

Research groups approved as eligible to receive the funding can use the funds to pursue their research goals following appropriate faculty, university and ethical budgeting procedures. When activating the funds, the research group will need to submit a short proposal and budget. No direct payments for researcher remuneration to members of the research group are allowed.

Update 26-10-2023

เกณฑ์ในการดำเนินงานวิจัยคณะศิลปศาสตร์ (English)

เกณฑ์ในการดำเนินงานวิจัยคณะศิลปศาสตร์

                ปัจจุบันคณะศิลปศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณจำนวนประมาณ 1,000,000 บาทเพื่อสนับสนุนการทำงานวิจัย โดยแบ่งทุนออกเป็น 12 ประเภท ได้แก่

  1. ทุนวิจัยสำหรับบุคลากร
  2. ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 10,000 บาท)
  3. ทุนวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท เอก
  4. ทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการสำหรับบุคลากร
  5. ทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษา
  6. ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากร
  7. ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร
  8. ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ
  9. ทุนสนับสนุนค่าธรรมเนียมการส่งและการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการ
  10. โครงการตามแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนานักวิจัยระดับกลาง
  11. ทุนพัฒนาด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์
  12. ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัยระดับสูง   

แม้ว่า ทุนวิจัยที่จัดสรรในแต่ละปีจะมีจำนวนเงินที่ไม่แน่นอน แต่ประมาณการได้ว่า งบประมาณอุดหนุนทุนวิจัยเป็นจำนวนเงินประมาณครึ่งหนึ่งของงบประมาณทั้งหมด และงบประมาณอุดหนุนการเข้าร่วมการประชุมวิชาการเป็นจำนวนเงินประมาณ 1 ใน 4 ของงบประมาณทั้งหมด

นอกจากนี้ คณะศิลปศาสตร์ได้จัดสรรเงิน FTERO ส่วนหนึ่งเพื่อสนับสนุนทุนพัฒนาด้านวิจัยสำหรับบุคลากร (ภาคผนวก)

ผู้ได้รับทุนวิจัย (ประเภท 1 – 3) จะได้รับหมายเลขรหัสโครงการวิจัย ซึ่งผู้ได้รับทุนควรระบุรหัสโครงการวิจัยในการเขียนแสดงความขอบคุณแหล่งทุนเมื่อบทความได้รับการตีพิมพ์ตามความเหมาะสม  การอนุมัติทุนเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานด้านวิจัย จะต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณาทุนอุดหนุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ หรือ รองคณบดีฝ่ายวิจัย ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ทุนวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์

ปัจจุบันคณะศิลปศาสตร์ได้จัดสรรงบประมาณจำนวนมากกว่า 10,000 บาทขึ้นไปจนถึง 500,000 บาท เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานวิจัย โดยคณะศิลปศาสตร์จะพิจารณาให้ทุนวิจัยแก่งานวิจัย 4 ประเภท ดังต่อไปนี้

     1) งานวิจัยที่เน้นเนื้อหาวิชาการ (Publishable academic research)
งานวิจัยประเภทนี้ ใกล้เคียงกับการทำงานวิจัยแบบเดิม โดยตามหลักการ ผลงานจากการทำวิจัยประเภทนี้ คือบทความวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่มีผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงาน อย่างไรก็ตาม งานวิจัยที่จัดอยู่ในประเภทนี้ ไม่ได้จำกัดเฉพาะงานวิจัยที่เป็นไปตามแบบแนวคิดเดิม แต่ยังครอบคลุมถึงงานวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา งานวิจัยนโยบาย และงานวิจัยเอกสารอีกด้วย
ผลงานวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ คือ บทความวิจัย

     2) งานวิจัยพัฒนา (Developmental research)
งานวิจัยประเภทนี้ มีจุดประสงค์ในการเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหน่วยงาน คณะ หรือมหาวิทยาลัย ด้วยเหตุผลดังกล่าว ผลงานวิจัยประเภทนี้อาจไม่ได้อยู่ในรูปของการตีพิมพ์เผยแพร่ แต่ควรเป็นผลวิจัยที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้จริง เช่น เพื่อการพัฒนาหน่วยงาน 
ผลงานวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ คือ รายงานสำหรับบุคคลหรือกลุ่มเป้าหมายที่จะนำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ (เช่น คณบดี)

     3) งานวิจัยด้านสังคม (Socially active research)
งานวิจัยประเภทนี้มักมีขอบเขตจำกัดกว่างานวิจัยแบบเดิม ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องมีผลงานวิจัยที่สามารถรายงานได้ในรูปแบบของบทความวิจัยแบบเดิม (ถึงแม้ว่าอาจเป็นไปได้) แต่จุดประสงค์ของงานวิจัยประเภทนี้ มุ่งเน้นการเน้นย้ำบางแง่มุมของสังคม วัฒนธรรม ที่เกิดเป็นประเด็นที่น่าสนใจ ผลงานวิจัยประเภทนี้อาจจะเผยแพร่โดยผ่านสื่อด้านสังคม มากกว่าสื่อทางด้านวิชาการ เช่น หนังสือพิมพ์
ผลงานวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ คือ รายงานฉบับย่อ พร้อมกับแนบผลงานในรูปแบบที่เผยแพร่ (เช่น บทความที่เผยแพร่ในหนังสือพิมพ์)

     4) งานวิจัยที่ได้ผลผลิต (Product research)
จุดประสงค์ของงานวิจัยประเภทนี้ไม่ใช่การดำเนินการศึกษาค้นคว้าข้อมูล แต่เพื่อผลิตผลงานประดิษฐ์ใหม่ๆ เพื่อการใช้งานในคณะ มหาวิทยาลัย หรือสังคม ซึ่งอาจรวมถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฐานข้อมูล และผลงานประดิษฐ์อื่นๆ ในแนวเดียวกัน ตัวอย่างเช่น การสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Key BNC เพื่อใช้ในการสร้างรายการคำสำคัญจากคลังข้อมูล
ผลงานวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ คือ ผลงานประดิษฐ์ และรายงานอย่างย่อหรือบทความวิจัย
ถึงแม้ว่าผู้ได้รับทุนวิจัยไม่จำเป็นต้องดำเนินการวิจัยตามรูปแบบเดิม งานวิจัยทั้ง 4 ประเภทควรมีองค์ประกอบที่ครบถ้วนชัดเจน (เช่น การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล) นอกจากนี้ ผู้ได้รับทุนวิจัยไม่จำเป็นต้องส่งรายงานอย่างเป็นทางการหลังจากการดำเนินการวิจัยเสร็จสิ้น แต่งานส่งเสริมการวิจัยขอความร่วมมือให้ผู้ได้รับทุนวิจัยรายงานผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่มายังงานส่งเสริมการวิจัย

ข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอขอทุนวิจัยของคณะศิลปศาสตร์ควรมีรายละเอียดดังนี้

     1. ชื่อโครงการวิจัย

     2. ชื่อนักวิจัย / ผู้ร่วมโครงการวิจัย

     3. ความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัย (Justification for research)

          การเขียนความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัยอาจมีความแตกต่างกันตามประเภทและวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ดังรายละเอียดต่อไปนี้

งานวิจัยที่เน้นเนื้อหาวิชาการ(Publishable academic research)
รูปแบบของการเขียนความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัยประกอบด้วย การทบทวนวรรณกรรมอย่างย่อ เพื่ออธิบายเหตุผลและความสำคัญของโครงการวิจัย (เช่น การตอบโจทย์ปัญหาที่เกิดขึ้นในสาขาวิชานั้นๆ)

งานวิจัยพัฒนา(Developmental research)
รูปแบบของการเขียนความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัยประกอบด้วย สาระสำคัญของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นพร้อมข้อมูลอ้างอิงถึงปัญหาที่โครงการวิจัยที่เสนอขอทุนอาจช่วยแก้ปัญหาเหล่านั้นได้

งานวิจัยด้านสังคม (Socially active research)
ความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัยควรแสดงให้เห็นประเด็นที่สังคมให้ความสนใจและเหตุผลสนับสนุนว่าเหตุใดงานวิจัยที่เสนอขอทุนจึงนำไปสู่ผลการศึกษาที่น่าสนใจและเหตุใดจึงมีความจำเป็นในการดำเนินการวิจัยชิ้นนั้น ความสำคัญและที่มาของโครงการวิจัยอาจรวมไปถึงบทความทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง รายงานจากสื่อต่างๆ หรือข้อมูลจากแหล่งอื่นๆ ที่ไม่เป็นทางการ

งานวิจัยที่ได้ผลผลิต (Product research)
รูปแบบการเขียนจะขึ้นอยู่กับประเภทของผลงานประดิษฐ์ที่เป็นผลจากงานวิจัยนั้นๆ ซึ่งอาจรวมถึง การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์สถานการณ์ในขณะนั้น ข้อมูลอย่างไม่เป็นทางการหรือประสบการณ์ที่ผ่านมา

     4. ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย

          การเขียนขั้นตอนการดำเนินการวิจัยควรให้ภาพรวมของขั้นตอนการดำเนินงานที่ชัดเจน สำหรับงานวิจัยที่เน้นเนื้อหาวิชาการการเขียนขั้นตอนการดำเนินการวิจัย (Project procedures) จะใกล้เคียงกับการเขียนวิธีดำเนินการวิจัย (Research methodology) ส่วนงานวิจัยอีก 3 ประเภทที่กล่าวข้างต้น ควรเขียนบรรยายขั้นตอนการดำเนินงานที่ชัดเจน พร้อมทั้งให้เหตุผลและความสำคัญของขั้นตอนเหล่านั้น

     5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

          การเขียนในส่วนนี้ โดยเฉพาะโครงการวิจัยเพื่อผลผลิต ควรให้รายละเอียดและวิธีการนำผลงานนั้นไปใช้อย่างชัดเจน

     6. งบประมาณ

ทั้งนี้ คณะฯ จะเน้นพิจารณาให้ทุนแก่บุคลากรที่ยังไม่เคยขอรับทุนอุดหนุนวิจัยคณะฯ และบุคลากรที่งานส่งเสริมการวิจัยมีข้อมูลผลสำเร็จจากการดำเนินโครงการวิจัยที่เคยได้รับทุน  การอนุมัติทุนวิจัยสำหรับบุคลากรจะต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณาทุนอุดหนุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์

ทุนวิจัยย่อย (งบประมาณไม่เกิน 10,000 บาท)

                การขอรับทุนวิจัยย่อยมีกระบวนการที่ง่ายขึ้นเพื่อให้การพิจารณาอนุมัติทุนมีความรวดเร็วขึ้น

ข้อกำหนดสำหรับงานวิจัยประเภทนี้ มีดังนี้

     1. ผู้ส่งข้อเสนอโครงการวิจัยต้องเป็นบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ที่ทำงานเต็มเวลาเท่านั้น
     2. การส่งข้อเสนอโครงการวิจัยสามารถทำได้ตลอดปี
     3. การเสนอของบประมาณในข้อเสนอโครงการวิจัย สามารถขอได้สูงสุด 10,000 บาท
     4. โครงการวิจัยแต่ละโครงการ สามารถส่งได้ 1 ข้อเสนอโครงการวิจัยเท่านั้น
     5. ข้อเสนอโครงการวิจัย (โดยปกติมีความยาวประมาณ 1 หน้ากระดาษ) ควรประกอบด้วย ชื่อผู้วิจัย หัวข้อวิจัย รายละเอียดของโครงการ (เขียนอย่างกระชับ ความยาวประมาณ 1 ย่อหน้า) และรายละเอียดของงบประมาณ
     6. ผู้วิจัยสามารถส่งข้อเสนอโครงการวิจัยได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
     7. รองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุนวิจัยย่อย (โดยจะแจ้งผลพิจารณาให้ทราบภายใน 1 สัปดาห์โดยประมาณ นับจากวันที่ได้รับข้อเสนอโครงการวิจัย)
     8. ผู้วิจัยต้องแสดงใบเสร็จรับเงินหรือใบสำคัญรับเงินเพื่อเป็นหลักฐานในการเบิกจ่าย (เช่นเดียวกับงานวิจัยที่ได้รับทุนทั่วไป)
     9. หากมีค่าใช้จ่ายในการจัดซื้อหนังสือ หลังจากที่การดำเนินการวิจัยเสร็จสิ้นแล้วควรนำมามอบให้ Resource Centre
     10. ผู้วิจัยสามารถใช้ทุนวิจัยได้ภายในปีงบประมาณที่ข้อเสนอโครงการวิจัยได้รับการอนุมัติ (คือ ก่อนสิ้นสุดเดือนสิงหาคม เพื่อการจัดการด้านการเงินให้เสร็จสิ้นก่อนหมดปีงบประมาณนั้น)

ทุนวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท เอก

                เพื่อเพิ่มศักยภาพในการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยของคณะศิลปศาสตร์ นักศึกษาปริญญาโทและเอกคณะศิลปศาสตร์สามารถขอรับทุนเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานวิจัยได้  และผลผลิตจากโครงการวิจัยที่ได้รับทุนนี้ควรเป็นผลงานวิจัยที่เป็นไปตามตัวชี้วัด เช่นการตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัย

ข้อกำหนดในการให้ทุนวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท เอก

                คณะศิลปศาสตร์จัดสรรงบประมาณเพื่อสนับสนุนงานวิจัยของนักศึกษาปริญญาโท เอก  ดังนี้

     1. นักศึกษาปริญญาเอก 1 คน สามารถขอทุนสูงสุดได้ 20,000 บาท  นักศึกษาปริญญาโท 12 หน่วยกิต 1 คน ขอได้ 7,000 บาท และนักศึกษาปริญญาโท 3 หรือ 6 หน่วยกิต 1 คนขอได้ 5,000 บาท
     2. ทุนนี้ต้องมีความจำเป็นในการทำวิจัย
     3. งานวิจัยที่ได้รับทุนจะต้องมีผลงานในรูปบทความวิจัย โดยจะต้องพยายามให้ผลงานได้รับการตีพิมพ์
     4. อาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยของนักศึกษาที่ขอทุนจะต้องมีความเกี่ยวข้องในการดำเนินงานวิจัยอย่างใกล้ชิด
     5. บทความวิจัยจะต้องได้รับการตีพิมพ์เป็นประเภทงานวิจัยร่วม ระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย
     6. ก่อนการขอทุนจากงานส่งเสริมการวิจัย ควรผ่านการดำเนินการหาแหล่งทุนจากภายนอกคณะศิลปศาสตร์ก่อน
     7. นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัยจะต้องร่วมกันเป็นผู้สมัครทุนวิจัย
     8. ทุนวิจัยจะครอบคลุมค่าเดินทางและการซื้อวัสดุที่จำเป็น (เฉพาะกรณีที่ไม่มีในคณะศิลปศาสตร์) แต่ไม่รวมถึงค่าจ้างงาน (เช่น นักแปล) ยกเว้น ค่าบริการในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยหน่วยวิเคราะห์ข้อมูล (DASU) ของงานส่งเสริมการวิจัย ค่าตรวจภาษาก่อนการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน (กรณีนี้ ไม่ใช่ วิทยานิพนธ์) และค่าบริการอื่นที่นักศึกษาไม่มีทักษะในด้านนั้นๆ (เช่น การสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
     9. การเบิกจ่ายทุนวิจัยสามารถทำได้ในกรณีที่มีใบเสร็จหรือใบสำคัญรับเงินเป็นหลักฐานเท่านั้น
     10. หากมีการซื้อหนังสือ ซอฟท์แวร์ หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ จะถือว่าเป็นทรัพย์สินของคณะศิลปศาสตร์ หลังจากดำเนินงานวิจัยเสร็จสิ้นแล้ว ให้นำมามอบให้คณะศิลปศาสตร์
     11. รองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุนวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท เอก

การขอรับทุนวิจัยสำหรับนักศึกษาปริญญาโท เอก ใช้แบบฟอร์ม 21E (ภาษาอังกฤษ) หรือ 21T (ภาษาไทย)

ทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการสำหรับบุคลากร

                บุคลากรคณะศิลปศาสตร์สามารถขอรับทุนเพื่อเข้าร่วมนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการได้จาก 2 แหล่งทุน คือ

     1. ทุนจากมหาวิทยาลัย เพื่อนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ โดยมีเงื่อนไขดังนี้

     1.1 ขอได้ 1 ครั้ง/ปีงบประมาณ
     1.2 สามารถขอได้ครั้งละไม่เกิน 30,000 บาทสำหรับการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่จัดในทวีปเอเชีย และไม่เกิน 50,000 บาทสำหรับการประชุมวิชาการระดับนานาชาติที่จัดนอกทวีปเอเชีย (ตามที่จ่ายจริง) 
     1.3 เมื่อขอทุนไปแล้ว 1 ครั้งจะต้องเผยแพร่ผลงานวิชาการในวารสารนานาชาติที่มีความน่าเชื่อถือ จึงจะขอทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการได้อีก

     2. ทุนจากคณะศิลปศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์กำหนดให้ทุนสนับสนุนการเข้าร่วมการประชุมวิชาการสำหรับบุคลากร คนละไม่เกิน 10,000 บาท/ปีงบประมาณ (ไม่ว่าการประชุมนั้นจะจัดในประเทศหรือต่างประเทศก็ตาม) บุคลากรที่มีอายุงานน้อยกว่า 3 ปี มีสิทธิ์ขอรับทุนนี้ได้คนละไม่เกิน 20,000 บาท/ปีงบประมาณ

คณะศิลปศาสตร์สนับสนุนทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการให้แก่บุคลากร เฉพาะค่าลงทะเบียน  ค่าเดินทางระหว่างเมือง/ประเทศ (เมืองที่จัดประชุมวิชาการไม่ได้อยู่เมืองเดียวกับเมืองที่เดินทางไปถึง) และค่าที่พัก  ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการคณะศิลปศาสตร์ไม่สนับสนุนค่าเบี้ยเลี้ยงและค่าเดินทางภายในเมืองที่จัดประชุม โดยรองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุน

ทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการสำหรับบุคลากร ครอบคลุมค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่ได้รับอนุมัติทุนเท่านั้น  คณะศิลปศาสตร์ไม่สนับสนุนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก่อนการอนุมัติทุน และผู้ขอรับทุนต้องเป็นผู้นำเสนอหลัก (ผู้นิพนธ์อันดับแรก)

บุคลากรสามารถขอรับทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการเป็นกรณีพิเศษได้ ตัวอย่างเช่น งานประชุมวิชาการที่มีลักษณะเฉพาะศาสตร์ที่จะช่วยส่งเสริมให้บุคลากรได้รับทักษะและความรู้เฉพาะทาง โดยผู้ขอรับทุนต้องยื่นขอรับทุนพร้อมชี้แจงเหตุผลที่ชัดเจนถึงประโยชน์ที่จะได้รับจากการประชุมวิชาการนั้น และเหตุผลในการเข้าร่วมการประชุมวิชาการนั้นต้องมากไปกว่าการนำเสนอผลงานและการสร้างเครือข่ายทั่วไป ทั้งนี้ การอนุมัติทุนกรณีพิเศษ ต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณาทุนอุดหนุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์จะพิจารณาให้ทุนแก่บุคลากรที่ขอรับทุนเพื่อเข้าร่วมการประชุมวิชาการตามรายการประชุมวิชาการประจำเดือนบนเว็บไซต์คณะศิลปศาสตร์ (Conference List) โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณา ดังนี้
          1) บุคลากรที่ขอรับทุนเพื่อเข้าร่วมการประชุมวิชาการที่อยู่ในรายการสีเขียว จะได้รับทุน
          2) บุคลากรที่ขอรับทุนเพื่อเข้าร่วมการประชุมวิชาการที่อยู่ในรายการสีแดง จะไม่ได้รับทุน
          3) บุคลากรที่ขอรับทุนเพื่อเข้าร่วมการประชุมวิชาการที่อยู่ในรายการสีส้ม หรือการประชุมวิชาการอื่นนอกเหนือจากที่อยู่ในรายการประชุมวิชาการประจำเดือน อาจไม่ได้รับทุน  โดยคณะฯ จะพิจารณาให้ทุนแก่ผู้ที่นำเสนอในการประชุมวิชาการที่จัดทำ proceedings  แต่หากการประชุมนั้นไม่จัดทำ proceedings ผู้ขอรับทุนจะต้องมีข้อตกลงว่าจะเขียนบทความที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ตนนำเสนอในการประชุมวิชาการนั้น ส่งไปตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ภายใน 1 ปีหลังจากนำเสนอในการประชุมวิชาการ

การขอรับทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากร ให้ใช้แบบฟอร์มขอรับทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ โดยรองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุน

ทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษา

เพื่อส่งเสริมให้เกิดการตีพิมพ์ผลงาน และสนับสนุนให้นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์พัฒนาผลงานของตนมากขึ้น  นักศึกษาสามารถขอรับทุนค่าลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการในส่วนของงบประมาณวิจัยคณะ
ศิลปศาสตร์ได้

เงื่อนไขในการขอรับทุน  มีดังนี้

     1. นักศึกษา 1 คนสามารถขอรับทุนได้ปีละ 1 ครั้ง (เว้นแต่กรณีที่มีเหตุผลจูงใจอื่นๆ)
     2. ตลอดระยะเวลาของการเป็นนักศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาเอกสามารถขอรับทุนได้ 2 ครั้ง และนักศึกษาระดับปริญญาโทสามารถขอรับทุนได้เพียง 1 ครั้ง
     3. การเข้าร่วมประชุมวิชาการของนักศึกษาสายวิชาภาษา ต้องเป็นการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ส่วนการเข้าร่วมประชุมวิชาการของนักศึกษาสายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ควรเป็นการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ แต่หากเป็นการประชุมวิชาการระดับชาติก็สามารถยอมรับได้
     4. ผู้ขอรับทุนต้องเป็นผู้นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการ
     5. ทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการครอบคลุมเฉพาะค่าลงทะเบียนเท่านั้น (เป็นอัตราค่าลงทะเบียนของนักศึกษาหรืออัตราค่าลงทะเบียนล่วงหน้าตามความเหมาะสม)
     6. ผู้ขอรับทุนต้องสัญญาว่าจะเขียนบทความที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ตนนำเสนอในการประชุมวิชาการ (ใน proceedings ของการประชุมวิชาการหรือในวารสารต่างๆ) และบทความวิจัยจะต้องได้รับการตีพิมพ์เป็นประเภทงานวิจัยร่วม ระหว่างนักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาวิจัย
     7. คณะฯ จะให้ทุนเข้าร่วมประชุมวิชาการแก่นักศึกษาที่ไม่ได้ขอรับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนอื่นเท่านั้น
     8. ผู้ขอรับทุนสามารถขอทุนได้สูงสุดไม่เกิน 5,000 บาท
     9. ผู้ขอรับทุนควรแสดงให้เห็นว่าการเข้าร่วมการประชุมวิชาการนั้นๆ จะช่วยยกระดับภาพลักษณ์ของคณะศิลปศาสตร์ และ/หรือ จะทำให้ได้รู้จักกับเครือข่ายใหม่ๆ
     10. ทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการของนักศึกษา ครอบคลุมค่าใช้จ่าย ที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่ได้รับอนุมัติทุนตามเงื่อนไขข้อ 5 เท่านั้น คณะศิลปศาสตร์ไม่สนับสนุนค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นก่อนการอนุมัติ
     11. ผู้ที่ขอรับทุนจำนวนน้อยจะได้รับการพิจารณาให้ทุนก่อนผู้ที่ขอรับทุนจำนวนมากกว่า

                ผู้สมัครทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการจะต้องส่งใบสมัครก่อนวันจัดประชุมวิชาการ และนำใบเสร็จรับเงินฉบับจริงจากการประชุมวิชาการมายื่นที่คณะศิลปศาสตร์เพื่อส่งเบิกในภายหลัง โดยรองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุน  การขอรับทุนเข้าร่วมการประชุมวิชาการสำหรับนักศึกษา ให้ใช้แบบฟอร์ม 22E (ภาษาอังกฤษ) หรือ 22T (ภาษาไทย)

ทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากร

                คณะศิลปศาสตร์จัดสรรทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากร เพื่อสนับสนุนให้บุคลากรได้พัฒนาความรู้และทักษะด้านการทำวิจัย

จุดประสงค์ของทุนอบรมด้านวิจัย

                เนื่องจากบุคลากรสายวิชาการส่วนใหญ่ของคณะศิลปศาสตร์มีโอกาสได้เข้าร่วมการอบรมด้านการวิจัย จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการเพิ่มพูนความรู้และทักษะอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนได้รับความรู้ใหม่ๆ ด้านการวิจัย โดยทั่วไปทุนที่จัดสรรโดยสายวิชาจะใช้ในการสนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการ และมีงบประมาณส่วนน้อยที่ใช้ในการสนับสนุนการเข้าร่วมการอบรม นอกจากนี้ ถึงแม้ว่าคณะศิลปศาสตร์จะมีความพยายามในการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการที่เน้นด้านการวิจัย แต่ก็มีข้อจำกัดในเรื่องหัวข้ออบรม ขอบเขต และความถี่ของการจัดการอบรม ดังนั้น จึงมีการจัดสรรทุนอบรมด้านวิจัยเพื่อสนับสนุนให้บุคลากรของคณะศิลปศาสตร์ได้พัฒนาความรู้และทักษะด้านการวิจัยขึ้น

                โดยปกติ มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการโดยมหาวิทยาลัยต่างๆ สภาวิจัยแห่งชาติ และหน่วยงานอื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาความรู้และทักษะด้านการวิจัยของผู้เข้าร่วมการอบรม หัวข้อที่จัดโดยทั่วไป รวมถึงสถิติเพื่อการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการวิจัย และการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย การอบรมส่วนใหญ่มีระยะเวลาในการจัดอบรมประมาณ 1 – 2 วัน (ระยะเวลานานที่สุดประมาณ 5 วัน) และมีค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมอบรมประมาณ 500 – 2,000 บาท (สูงสุดประมาณ 8,000 บาท) โดยงานส่งเสริมการวิจัยจะประชาสัมพันธ์ข้อมูลเกี่ยวกับการอบรมด้านวิจัยให้บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ทราบทางอีเมล

ข้อกำหนดในการขอทุนอบรมด้านวิจัย

     1. บุคลากรของคณะศิลปศาสตร์ที่ทำงานเต็มเวลาทุกคนสามารถขอทุนได้ (โดยพิจารณาลำดับจากบุคลากรสายวิชาการก่อน)
     2. การจัดสรรทุนอบรมด้านวิจัย จะจำกัดเฉพาะการอบรมที่มีระยะเวลาไม่เกิน 5 วัน และมีค่าลงทะเบียนไม่เกิน 10,000 บาทสำหรับแต่ละการอบรม โดยจะให้ลำดับความสำคัญกับการอบรมที่จัดในกรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียงก่อน
     3. ทุนนี้ครอบคลุมเฉพาะค่าลงทะเบียนของการอบรมเท่านั้น
     4. บุคลากรที่ได้รับทุน ต้องยื่นสำเนาแบบฟอร์มลงทะเบียนและใบเสร็จรับเงินค่าลงทะเบียนเพื่อการเบิกจ่าย
     5. หลังการอบรม บุคลากรที่ได้รับทุนควรถ่ายสำเนาเอกสารที่เป็นประโยชน์จากการเข้าร่วมอบรม และมอบให้กับ Resource Centre เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจด้วย

รองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุนอบรมด้านวิจัยสำหรับบุคลากร  การขอรับทุนให้ใช้แบบฟอร์ม 13E (ภาษาอังกฤษ) หรือ 13T (ภาษาไทย)

ทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร

                ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการศูนย์วิจัยและบริการวิชาการในเดือนกรกฎาคม 2553 คณะกรรมการเห็นควรให้มีการจัดสรรทุนวิจัยเพื่อสนับสนุนการเข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยให้แก่บุคลากร คณะ
ศิลปศาสตร์ ซึ่งการเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการนั้นจะทำให้บุคลากรได้รับความรู้ใหม่และมีเครือข่ายทางวิชาการเพิ่มขึ้น รวมทั้งเป็นการส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเป็นที่รู้จักมากขึ้น
ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ (ปัจจุบันคือ งานส่งเสริมการวิจัย) ได้ทำการสำรวจค่าใช้จ่ายโดยทั่วไปในการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการ เพื่อคิดงบประมาณในการให้ทุนดังกล่าว พบว่า ค่าใช้จ่ายในการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการในประเทศมีราคาต่ำ ดังนั้นจึงพิจารณาจากค่าใช้จ่ายในการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการในต่างประเทศ ดังต่อไปนี้
British Association for Applied Linguistics                    55UKP   (2,750 บาท)
American Association of Applied Linguistics                $115       (3,700 บาท)
Society for Personality and Social Psychology             $38         (1,250 บาท)
European Association for Social Psychology               72EU      (3,000 บาท)
ทั้งนี้ ค่าใช้จ่ายในการสมัครเป็นสมาชิกจะรวมค่าธรรมเนียมในการโอนเงินไปต่างประเทศด้วย (เช่น 100 บาท)

ข้อกำหนดในการขอรับทุน

     1. องค์กรที่สมัครต้องเป็นองค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย เช่น IATEFL เป็นองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการสอน ผู้สมัครจึงไม่สามารถขอรับทุนนี้ได้ (นอกจากเป็นการสมัครเพื่อเข้าร่วมในกลุ่มความสนใจพิเศษด้านวิจัย) แต่ BAAL เป็นองค์กรที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ผู้สมัครสามารถขอรับทุนนี้ได้
     2. บุคลากร 1 คนขอรับทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการได้ปีละ 1 ครั้ง
     3. วารสาร สื่อ หรือสิ่งอื่นใดที่บุคลากรได้รับจากการเป็นสมาชิก ต้องมอบให้ Resource Center ภายใน 2 เดือนหลังจากได้รับจากองค์กรนั้น ๆ
     4. ทุนนี้สนับสนุนงบประมาณสูงสุด ครั้งละไม่เกิน 10,000 บาท

รองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุนเพื่อการสมัครเป็นสมาชิกขององค์กรทางวิชาการสำหรับบุคลากร  การขอรับทุนให้ใช้แบบฟอร์ม 14E (ภาษาอังกฤษ) หรือ 14T (ภาษาไทย)

ทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ

                ตามที่บุคลากรคณะศิลปศาสตร์มีความพยายามในการส่งบทความตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น จึงมีความจำเป็นต้องใช้บริการจากผู้ให้บริการด้านการตรวจภาษาและไวยากรณ์ระดับมืออาชีพมากขึ้นนั้น
งานส่งเสริมการวิจัยจึงได้จัดสรรทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ระดับมืออาชีพ ในกรณีดังต่อไปนี้

     1. บทความที่จะตรวจภาษาและไวยากรณ์นั้นได้รับการตอบรับจากสิ่งพิมพ์แล้ว แต่มีเงื่อนไขให้ทำการตรวจสอบภาษาและไวยากรณ์ระดับมืออาชีพก่อน
     2. บทความนั้นตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติในฐานข้อมูลใหญ่ที่มีผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ หรือ ในหนังสือรวบรวมบทความที่จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ใหญ่ระดับนานาชาติ

                ผู้เขียนบทความควรติดต่อใช้บริการตรวจภาษาและไวยากรณ์ตามที่บรรณาธิการหรือสำนักพิมพ์แนะนำ และชำระค่าบริการ  จากนั้นยื่นจดหมายขอรับทุนพร้อมเอกสารประกอบการขอรับทุนมายังงานส่งเสริมการวิจัยตามจำนวนเงินค่าบริการในอัตราปกติเท่านั้น ดังต่อไปนี้

     1. สำเนาจดหมายจากบรรณาธิการหรือสำนักพิมพ์ที่ขอให้นำบทความไปตรวจภาษาและไวยากรณ์ระดับมืออาชีพ
     2. สำเนาใบแจ้งหนี้ (invoice) ค่าบริการตรวจภาษาและไวยากรณ์
     3. สำเนาใบแจ้งการชำระเงิน (payment slip)

รองคณบดีฝ่ายวิจัยเป็นผู้พิจารณาอนุมัติทุนสำหรับการตรวจภาษาและไวยากรณ์ในบทความ โดยสนับสนุนงบประมาณสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท  การขอรับทุนให้ใช้แบบฟอร์ม 15E

ทุนสนับสนุนค่าธรรมเนียมการส่งและการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการ

การเผยแพร่งานวิจัยในรูปแบบ Open Access มีเพิ่มมากขึ้น และวารสารวิชาการจำนวนมากเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงาน เช่น ค่าธรรมเนียมการส่ง (Submission Fee) และค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ (Publication Fee) โดยเรียกเก็บจากผู้เขียนบทความ มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ผลงานวิจัยสำหรับการเผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ แต่ไม่ได้สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับชาติ

ตัวอย่างวารสารระดับชาติที่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการส่งและการตีพิมพ์

The BU Academic Reviewค่าธรรมเนียมการส่ง 3,000 บาท
Journal of Urban Culture Researchไม่เรียกเก็บ
Journal of Business Administrationค่าธรรมเนียมการส่ง 4,000 บาท
Human Resource and Organization Development Journalค่าธรรมเนียมการส่ง: 1,000 บาท
ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์: 2,000 บาท
Hatyai Academic Journalค่าธรรมเนียมการส่งบทความภาษาไทย: 3,000 บาท
ค่าธรรมเนียมการส่งบทความภาษาอังกฤษ: 4,000 บาท

คณะศิลปศาสตร์จะสนับสนุนค่าใช้จ่ายสำหรับการส่งและการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารวิชาการไทย โดยมีเงื่อนไขดังนี้

     1. ผู้ขอการสนับสนุนจะต้องเป็นบุคลากรที่ได้รับการว่าจ้างเต็มเวลาของคณะศิลปศาสตร์
     2. วารสารที่จะเผยแพร่ต้องเป็นวารสารระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1 (Tier 1) แต่สำหรับบุคลากรที่ตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการเป็นครั้งแรก สามารถเป็นได้ทั้งวารสารกลุ่มที่  1 และกลุ่มที่ 2
     3. สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายสำหรับการตีพิมพ์ได้ หลังมีการตอบรับให้ตีพิมพ์แล้ว โดยจะได้รับการสนับสนุนค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ (Publication Fee) ส่วนค่าธรรมเนียมการส่งบทความ (Submission Fee) สามารถทำเรื่องขอรับเงินคืนได้จากคณะเมื่อผลงานได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์แล้วเท่านั้น (บทความที่ถูกปฏิเสธให้ตีพิมพ์ บุคลากรจะต้องรับผิดชอบค่าธรรมเนียมการส่งเอง)
     4. คณะจะสนับสนุนการค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงานที่เป็นภาษาไทยหรือเป็นภาษาอังกฤษ แต่ไม่สนับสนุนค่าธรรมเนียมสำหรับการเผยแพร่ผลงานแบบเร่งด่วน
     5. ผู้สมัครขอรับการสนุนจะต้องเป็นผู้เขียนหลัก (First Author) หรือผู้ประสานงานการพิมพ์เผยแพร่ (Corresponding Author) หรือเป็นผู้เขียนลำดับที่ 2 และมีนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะศิลปศาสตร์เป็นผู้เขียนหลัก
     6. ผู้มีสิทธิ์สามารถขอรับการสนับสนุนค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงานได้ 1 ครั้ง/ปี
     7. คณะจะสนับสนุนค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงานไม่เกิน 5,000 บาท/ครั้ง

ผู้เขียนบทความสำรองจ่ายค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงานก่อน เมื่อบทความได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ สามารถมาทำเรื่องขอรับการสนับสนุนจากคณะพร้อมแนบเอกสารดังนี้

     1. สำเนาจดหมายตอบรับการตีพิมพ์จากบรรณาธิการ
     2. สำเนาเอกสารแสดงการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงาน
     3. สำเนาใบแสดงการจ่ายค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงาน

การขอสนับสนุนค่าธรรมเนียมการเผยแพร่ผลงานจะได้รับการพิจารณาและอนุมัติโดยรองคณบดีฝ่ายวิจัย โดยผู้ที่ประสงค์จะขอรับการสนับสนุนจะต้องกรอกแบบฟอร์ม 16T สำหรับภาษาไทย หรือ 16E สำหรับภาษาอังกฤษ และยื่นแบบฟอร์มที่ฝ่ายสนับสนุนการวิจัย

โครงการตามแผนกลยุทธ์เพื่อพัฒนานักวิจัยระดับกลาง

                โครงการนี้มุ่งให้การสนับสนุนอย่างจริงจังแก่นักวิจัยระดับกลางที่มีแนวโน้มจะสามารถพัฒนาทักษะด้านวิจัยและผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพได้ (บุคลากรสายวิชาการคณะศิลปศาสตร์) เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระดับนานาชาติและมีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติในระดับ Q1  นักวิจัยระดับกลางนี้ได้มาจากการคัดเลือกโดยผู้บริหารคณะ
ศิลปศาสตร์ และจะได้รับเชิญให้ส่งข้อเสนอโครงการเพื่อเข้าร่วมโครงการ  โดยคณะฯ คาดว่า จะมีบุคลากร 1 คนได้รับทุนนี้ 2 ปี/ครั้ง

                บุคลากรที่ได้รับการคัดเลือกต้องติดต่อไปยังนักวิจัยที่มีผลงานตีพิมพ์ที่เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย เพื่อร่วมมือกันดำเนินงานวิจัย และร่วมมือกันผลิตผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคณะกรรมการพิจารณาบทความ  โครงการความร่วมมือนี้รวมถึงการเดินทางไปทำงานกับนักวิจัยระดับนานาชาติในต่างประเทศในระยะยาว (เพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากรได้เรียนรู้บรรยากาศในการทำงานในมหาวิทยาลัยที่ไม่ใช่มหาวิทยาลัยไทย และส่งเสริมให้เกิดการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นนอกเหนือจากนักวิจัย) นักวิจัยระดับนานาชาติที่บุคลากรติดต่อไปนั้น ควรพิจารณาจากผลประโยชน์เพิ่มเติมที่จะได้รับเป็นหลัก ก่อนที่จะพิจารณาถึงการดำเนินงานโครงการวิจัย

                บุคลากรที่ได้รับการคัดเลือกต้องส่งโครงการเพื่อขอรับทุนวิจัยสำหรับบุคลากร (ตามรายละเอียดทุนดังกล่าวข้างต้น) มายังคณะศิลปศาสตร์ก่อน เมื่อผ่านการพิจารณาในขั้นต้นแล้ว ให้ระบุรายชื่อของนักวิจัยที่คาดว่าจะร่วมดำเนินงานด้วยและส่งข้อเสนอโครงการวิจัยฉบับที่ 2 มายังรองคณบดีฝ่ายวิจัย เพื่อให้รองคณบดีฝ่ายวิจัยช่วยพิจารณาและคัดเลือกผู้ร่วมวิจัย  หลังจากได้รับการอนุมัติชื่อผู้ร่วมวิจัยแล้ว บุคลากรจะต้องติดต่อไปยังผู้ร่วมวิจัยเพื่อยืนยันความเป็นไปได้ในการดำเนินงานวิจัยร่วมกัน  หากผู้ร่วมวิจัยตอบตกลง ให้บุคลากรปรับปรุงรายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานเสนอต่อคณะกรรมการพิจารณาทุนอุดหนุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์เพื่อพิจารณา  ทุนนี้ครอบคลุมค่าเดินทาง  ค่าที่พัก  ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จำเป็น (เช่น ค่าทำวีซ่า  ค่าหนังสือเดินทาง  ค่าประกันการเดินทาง) และค่าธรรมเนียมที่เกิดจากความร่วมมือในการดำเนินงาน รวมทั้งเงินสมนาคุณสำหรับนักวิจัยร่วม

                บุคลากรที่ได้รับทุนควรใช้เวลาไม่เกิน 1 เดือนในการดำเนินงานวิจัยในมหาวิทยาลัยของผู้ร่วมวิจัย และผลที่ได้จากการดำเนินโครงการควรเป็นบทความวิจัยระดับนานาชาติ  ทั้งนี้ ผู้ได้รับทุนจะต้องนำประสบการณ์และความรู้ที่ได้รับมาถ่ายทอดให้แก่บุคลากรคณะศิลปศาสตร์เมื่อกลับจากต่างประเทศ (เช่น นำเสนอใน Research Discussions)

ทุนพัฒนาด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์จัดสรรทุนพัฒนาด้านวิจัยให้แก่บุคลากร  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้บุคลากรได้สร้างเครือข่ายด้านวิจัย  มีความร่วมมือในการดำเนินโครงการวิจัยกับนักวิจัยในต่างประเทศ รวมทั้งได้ประสบการณ์ในการทำงานทางวิชาการในต่างประเทศ  บุคลากรที่มีความประสงค์จะขอรับทุนนี้ จำเป็นต้องมีการติดต่อกับนักวิจัยในต่างประเทศ และต้องร่วมมือกันพัฒนาแผนในการดำเนินงานวิจัยและการพัฒนาบุคลากร  ทุนนี้ครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการเดินทางและการทำงานร่วมกับนักวิจัยในต่างประเทศ

ข้อกำหนดในการขอรับทุนพัฒนาด้านวิจัยสำหรับบุคลากร

     1. ทุนนี้จัดสรรให้แก่บุคลากรสายวิชาการคณะศิลปศาสตร์ที่ทำงานเต็มเวลาเท่านั้น
     2. ผู้ขอทุนควรใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานในต่างประเทศ 1 – 2 สัปดาห์
     3. ทุนนี้สนับสนุนค่าเดินทาง  ค่าที่พัก และค่าใช้จ่ายที่จำเป็นอื่น ๆ  (เช่น ค่าทำวีซ่า  ค่าหนังสือเดินทาง  ค่าประกันการเดินทาง) ให้แก่บุคลากรคนละไม่เกิน 40,000 บาท
     4. ทุนนี้จัดสรรให้แก่บุคลากรได้ ปีงบประมาณละไม่เกิน 3 คน
     5. บุคลากร 1 คนมีสิทธิ์ขอรับทุนได้เพียง 1 ครั้งต่อ 3 ปีงบประมาณ
     6. ผู้ขอรับทุนต้องชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลนักวิจัยจากต่างประเทศ  แผนการดำเนินงานวิจัย/การพัฒนาด้านวิจัยของบุคลากร  เอกสารหรือหลักฐานจากนักวิจัยในต่างประเทศที่ระบุถึงความสมัครใจในความร่วมมือ  ความสำคัญและที่มาของโครงการที่แสดงให้เห็นประโยชน์ที่ได้รับจากความร่วมมือ  และประมาณการค่าใช้จ่าย
     7. บุคลากรผู้ได้รับทุนจะต้องนำประสบการณ์ที่ได้รับจากการดำเนินงานในต่างประเทศ มาถ่ายทอดให้แก่บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ เช่น นำเสนอใน Research Discussions
     8. บุคลากรผู้ได้รับทุนควรมีผลงานตีพิมพ์จากความร่วมมือในการดำเนินงานกับนักวิจัยในต่างประเทศ

การอนุมัติทุนพัฒนาด้านวิจัยสำหรับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ จะต้องผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการพิจารณาทุนอุดหนุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์

ทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัยระดับสูง

คณะศิลปศาสตร์จัดสรรงบประมาณจำนวน 200,000 บาทต่อปีเพื่อสนับสนุนกลุ่มวิจัยระดับสูง คณะฯ จัดสรรทุนนี้เพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการดำเนินงานวิจัย และเปิดโอกาสให้กลุ่มวิจัยได้ศึกษานำร่องหัวข้อวิจัยที่มีศักยภาพ เพื่อยืนยันความเป็นไปได้ของโครงการวิจัยว่าสามารถดำเนินการได้จริง โดยทุนนี้คาดหวังให้กลุ่มวิจัยจัดทำและส่งข้อเสนอโครงการวิจัยไปยังแหล่งทุนภายนอกโดยอิงจากผลเบื้องต้นนี้

กลุ่มวิจัยที่มีสิทธิได้รับทุนต้องมีคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้

  1. กลุ่มวิจัยต้องมีสมาชิกเป็นบุคลากรสายวิชาการคณะศิลปศาสตร์อย่างน้อย 3 คน
  2. กลุ่มวิจัยประกอบด้วยบุคคลภายนอกคณะศิลปศาสตร์ได้ แต่ต้องมีสมาชิกที่เป็นบุคลากรคณะศิลปศาสตร์อย่างน้อย 60% ของจำนวนสมาชิกในกลุ่ม และหัวหน้ากลุ่มวิจัยต้องเป็นบุคลากรคณะศิลปศาสตร์
  3. กลุ่มวิจัยต้องแสดงหลักฐานอย่างชัดเจนของผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงที่ผ่านมา ซึ่งสามารถพิจารณาได้จาก

ก.  ค่า H-index รวมของสมาชิกในกลุ่มวิจัยต้องมีค่าไม่ต่ำกว่า 12

ข.  ผลงานตีพิมพ์ย้อนหลัง 5 ปีของสมาชิกในกลุ่มวิจัยอย่างน้อย 5 เรื่องอยู่ในฐานข้อมูล Scopus ระดับ Q1

ค.  ข้อมูลการได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอกย้อนหลัง 3 ปี ของสมาชิกในกลุ่มวิจัยในฐานะหัวหน้าโครงการ โดยได้รับงบประมาณรวมกันอย่างน้อย 1 ล้านบาท

หมายเหตุ:  เกณฑ์นี้ใช้กับบุคลากรคณะศิลปศาสตร์ที่อยู่ในกลุ่มวิจัย และจะได้รับการประเมินซ้ำทุก 3 ปี

ขั้นตอนการขอรับทุน

ในช่วงต้นปีงบประมาณ คณะศิลปศาสตร์จะเปิดรับสมัครกลุ่มวิจัยที่เข้าข่ายที่จะขอรับทุนสนับสนุนกลุ่มวิจัยระดับสูงโดยใช้แบบฟอร์ม 17E (ภาษาอังกฤษ) หรือ 17T (ภาษาไทย) กลุ่มวิจัยที่เสนอขอรับทุนจะได้รับการพิจารณาคุณสมบัติโดยคณะกรรมการพิจารณาทุนอุดหนุนวิจัยคณะศิลปศาสตร์ โดยจะจัดสรรงบประมาณให้แก่กลุ่มวิจัยทุกกลุ่มที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ในจำนวนเท่ากัน

กลุ่มวิจัยที่ได้รับพิจารณาว่ามีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่จะได้รับทุน สามารถใช้ทุนในการดำเนินงานวิจัยตามเป้าหมายของกลุ่มวิจัยได้ โดยต้องดำเนินการตามขั้นตอนของคณะฯ  มหาวิทยาลัยฯ และจัดทำงบประมาณอย่างมีจริยธรรม  เมื่อได้รับทุนแล้ว กลุ่มวิจัยจะต้องส่งข้อเสนอโครงการอย่างสั้นพร้อมแผนงบประมาณมายังคณะกรรมการฯ โดยทุนนี้จะไม่สนับสนุนค่าตอบแทนนักวิจัยให้แก่สมาชิกของกลุ่มวิจัย

ล่าสุด 23-12-2565

Regulations for Remuneration for Research Publications

Downloadable file
Regulations for Remuneration for Research Publications(english | thai)