เป็นพื้นที่สนุกเพื่อการปลูกฝังปัญญา พัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการ และสานพันธกิจสัมพันธ์กับชุมชนอย่างสร้างสรรค์ด้วยการจัดการศึกษาแบบศิลปศาสตร์
- ปลูกฝังนักศึกษาให้เป็นคนดี มีความรู้และทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตและประกอบวิชาชีพได้ประสบความสำเร็จในสังคมไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
- สร้างผลงานวิชาการที่มีคุณภาพระดับสากล และให้บริการวิชาการอย่างมืออาชีพเพื่อสร้างชื่อเสียงให้กับคณะ
- บริหารจัดการคณะ ตามหลักธรรมาภิบาล และพัฒนาคณะให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ มีคุณภาพ และประชาคมเป็นสุข
- เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและแสวงหารายได้ พร้อมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- นักศึกษามีความยืดหยุ่นสามารถเรียนรู้ทักษะใหม่ สื่อสารได้ดี ทำงานเป็นทีม ปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง และสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
- นักศึกษา/บุคลากร มีทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ภาษาที่สาม มีสมรรถนะสากล สามารถเข้าใจเรื่องราวประเด็นที่เกี่ยวข้อง และสามารถทำงานร่วมกับเพื่อนต่างภาษาและต่างวัฒนธรรมได้
- คณะมีความเป็นเลิศทางวิชาการ บัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษาที่มีคุณภาพ และบุคลากรมีความเชี่ยวชาญ มีชื่อเสียง ได้รับการยอมรับในระดับชาติ และระดับสากล
- คณะมีการบริหารจัดการแนวใหม่ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้วยการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การทำงาน และใช้แนวคิดทางการตลาดในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร
- นักศึกษาและผู้ส่วนได้เสีย
- 1.1) พัฒนาทักษะและประสบการณ์นักศึกษาด้วยการศึกษาแบบศิลปศาสตร์
- 1.2) พัฒนาสมรรถนะสากลให้กับบุคลากรทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
- กระบวนการภายใน
- 2.1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ ภาษาที่สาม และสมรรถนะสากลให้กับนักศึกษา
- 2.2) พัฒนางานวิชาการระดับบัณฑิตศึกษา
- 2.3) พัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อเปลี่ยนแปลงระบบการทำงานให้ได้ผลลัพธ์การทำงานที่ดีขึ้น
- การเรียนรู้และการเติบโต
- 3.1) พัฒนาอาจารย์ให้มีความเชี่ยวชาญ และมีชื่อเสียงได้รับการยอมรับในระดับสากล
- 3.2) พัฒนาอาจารย์และนักพัฒนาการศึกษา ให้มีความเชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอน และการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่
- การเงินและประสิทธิผล
- 4.1) บริหารทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และเพิ่มโอกาสในการสร้างรายได้
- ยึดมั่นในคุณธรรมและมีความรับผิดชอบต่อสังคม
- พัฒนาอย่างต่อเนื่องและมุ่งสู่ความเป็นเลิศ
- ทำงานเป็นทีมและมีความมุ่งมั่น
ผศ.ดร.ศศิธร สุวรรณเทพ
คณบดีคณะศิลปศาสตร์
02-470-8701 sasitorn.suw@kmutt.ac.th
ดร.พรเลิศ อาภานุทัต
รองคณบดีฝ่ายบริหาร
02-470-8703
pornlert.arp@kmutt.ac.th
ผศ. ดร.ชเนนทร์ มั่นคง
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาการเรียนรู้
02-470-8708
chanen.mun@kmutt.ac.th
ผศ.ดร.เสาวลักษณ์ เทพสุริวงศ์
รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
และประกันคุณภาพ
02-470-8741
saowaluck.tep@kmutt.ac.th
Assoc. Prof. Dr.
Richard Watson Todd
รองคณบดีฝ่ายวิจัย
02-470-8792
irictodd@kmutt.ac.th
ผศ.ดร.ณัตจิรี จาตุรพิทักษ์กุล
รองคณบดีฝ่ายพัฒนาสมรรถนะสากล
02-470-8752
natjiree.jat@kmutt.ac.th
ผศ.ดร.ภาสนันทน์ อัศวรักษ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัย
02-470-8707
passanan.ass@kmutt.ac.th
อ.ปาณเลิศ ศิริวงศ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร
02-470-8724
panalert.sir@mail.kmutt.ac.th
นางสาวกุลกานต์ สุทธิดารา
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายเทคโนโลยีการเรียนรู้
02-470-8790
kullakan.sut@kmutt.ac.th
ผศ.ธนิศร์ ตั้งกิจเจริญกุล
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ
02-470-8756
thanis.bun@kmutt.ac.th
ดร.สุรัตน์ เพชรนิล
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
02-470-8739
surat.pet@kmutt.ac.th
ผศ.ดร.อังคนา บุญเสม
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพ
02-470-8772
aungkana.boo@kmutt.ac.th
ดร.ปุณยภา แสงศรี
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการวัดและประเมินผล
02-470-8760
punyapa.sae@kmutt.ac.th
นายจิตติ อภิบุญ
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายการออกแบบ
กิจกรรมพัฒนาสมรรถนะสากล
02-470-8794
jitti.aph@kmutt.ac.th
นางสาวสุภาพร จันทรมณี
รักษาการเลขานุการคณะฯ
02-470-8714
supaporn.cha@kmutt.ac.th
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีเคารพสิทธิความเป็นส่วนตัวของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้รับความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 จึงได้จัดทำคำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวนี้เพื่อให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ทราบและเข้าใจรูปแบบการเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่มหาวิทยาลัยดำเนินการในฐานะผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลในข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อการดำเนินการภายใต้กิจกรรมการประมวลผลตามขอบเขตและวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย
คำประกาศความเป็นส่วนตัวต่อไปนี้ให้ข้อมูลรายละเอียดสำหรับแต่ละกลุ่มของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามที่ระบุ โปรดทราบว่านอกเหนือจากประกาศเหล่านี้ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลอาจได้รับคำประกาศความเป็นส่วนตัวเพิ่มเติมในบางครั้ง เพื่อแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับข้อมูลรายละเอียดเพิ่มเติมที่อาจไม่ครอบคลุมอยู่ในประกาศเหล่านี้
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วย การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2563
- คำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว ด้านข้อมูลผู้สมัครเข้าศึกษา
- คำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว ด้านข้อมูลนักศึกษา
- คำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว ด้านข้อมูลบุคลากร
- คำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว ด้านงานวิจัยและนวัตกรรม
- คำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว ด้านข้อมูลผู้สมัครงาน
- คำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว ด้านข้อมูลนักศึกษาเก่า
- คำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัวในการใช้กล้องวงจรปิด
ในการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงคำประกาศนี้ มหาวิทยาลัยอาจพิจารณาแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามที่เห็นสมควร และจะทำการแจ้งให้ทราบผ่านช่องทางเว็บไซต์หรือช่องทางสื่อสารที่เหมาะสม โดยมีวันที่ปรับปรุงล่าสุดกำกับอยู่ตอนท้าย อย่างไรก็ดีมหาวิทยาลัยขอแนะนำให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลโปรดตรวจสอบเพื่อรับทราบประกาศฉบับใหม่อย่างสม่ำเสมอ
หลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป เป็นรายวิชาโดยยึดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของ มจธ. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 และปรัชญาวิชาศึกษาทั่วไปตามเกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2548 เป็นแกนในการจัดทำโครงสร้างรายวิชา และได้พิจารณาสอดแทรกเนื้อหาหลักที่จำเป็นต่อ การเรียนรู้ของนักศึกษาในรายวิชาต่าง ๆ
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป (Office of General Education) ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 02-470-8782
การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษระดับปริญญาตรี หลักสูตรปกติ และ นานาชาติ
เป้าหมาย – พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตรปกติ และ นานาชาติให้สามารถใช้ในการสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งหากเทียบเคียงกับสมรรถนะภาษาในระดับสากลคือ CEFR หรือ TETET ที่ระดับดังต่อไปนี้
หลักสูตรปกติ
หลักสูตรนานาชาติ
ผลทดสอบ | ระดับคะแนน | ระดับคะแนน |
CEFR | B1 | B2 |
TETET | 3.5 | 4.5 |
หมายเหตุ
สำหรับนักศึกษาหลักสูตรปกติ: ก่อนจบการศึกษานักศึกษา จะมีการสอบ TETET เพื่อวัดสมรรถนะภาษาอังกฤษ และจะมีการบันทึกผลคะแนนใน Transcript ของนักศึกษาด้วย
สำหรับนักศึกษาหลักสูตรนานาชาติ: สำหรับนักก่อนจบการศึกษานักศึกษา จะต้องมีผลคะแนน TETET หรือคะแนนภาษาอังกฤษจากข้อสอบมาตรฐาน เช่น TEOFL หรือ IELTS ตามระดับที่กำหนดนี้ = มีคะแนนภาษาอังกฤษเป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การจบการศึกษา
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: งานบริการวิชาการ ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 02-470-8716
เมื่อ พ.ศ. 2543 มหาวิทยาลัยได้จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาภาษาและสังคมได้แยกเป็นสายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และสายวิชาภาษา สังกัดคณะศิลปศาสตร์ ในปัจจุบันสายวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ให้ความร่วมมือกับสำนักศึกษาทั่วไปในการสอนวิชาศึกษาทั่วไป(GEN)และเปิดสอนกลุ่มวิชาเลือกเสรี(SSC) ให้กับนักศึกษาระดับปริญญาตรีทุกคณะ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างบัณฑิตให้มีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ และคุณลักษณะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: งานบริการวิชาการ ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 02-470-8719
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษศึกษาเชิงประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) เป็นหลักสูตรที่ให้ความสำคัญต่อการผลิตบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร มีความเป็นมืออาชีพ และมีความเข้มแข็งด้านวิชาการในศาสตร์ด้านภาษาอังกฤษศึกษาและภาษาศาสตร์ประยุกต์ สามารถนำศาสตร์และศิลป์ในด้านที่เกี่ยวข้องคือ ภาษาอังกฤษ การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ การใช้ภาษาอังกฤษ การสื่อสาร ภาษาศาสตร์เชิงสังคม พหุวัฒนธรรม รวมถึงเทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ มาบูรณาการและใช้ในการปฏิบัติงานและการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริงอย่างมืออาชีพ ปรัชญาของหลักสูตรจึงเน้นการนำความรู้ในศาสตร์ด้านภาษาอังกฤษศึกษาเชิงประยุกต์มาประยุกต์ใช้ในเชิงวิชาการและวิชาชีพ เรียนรู้โดยเชื่อมโยงทฤษฎี การปฏิบัติและการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ผ่านกระบวนการและวงจรการเรียนรู้แบบต่อเนื่องโดยกำหนดเป้าหมาย วางแผน ดำเนินการ สะท้อนคิดและถอดบทเรียนจากประสบการณ์เพื่อประเมินผลและพัฒนา รวมถึงการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ และเครือข่ายสังคมนักปฏิบัติเพื่อส่งเสริมวิชาการด้านภาษาอังกฤษศึกษาและภาษาศาสตร์ประยุกต์
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ห้องสมุด Resource Centre (RC) ชั้น 5 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 0-2470-8721
บูรณาการศาสตร์
“สังคมศาสตร์+วิทยาศาสตร์ & เทคโนโลยี”
เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
- การประเมินผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (EIA/EHIA/SIA/SEA)
- การวางแผนกลยุทธ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมขององค์กร (CSR)
- การวางแผนและการจัดการสิ่งแวดล้อมชุมชน & การพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน (Sustainable Community Development)
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ห้องสมุด Resource Centre (RC) ชั้น 5 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 0-2470-8721
Why do a PhD in Applied Linguistics at KMUTT?
- The PhD prepares you to be an international-level researcher
- Our students have published articles in the best journals including Applied Linguistics, Journal of English for Academic Purposes, and International Journal of Applied Linguistics……
- Articles that our students have written as part of their PhD in the last few years already have a high citation rate
- Our teaching staff have published several books by major international publishers and numerous articles in major journals, and are responsible for half of all well-cited publications in applied linguistics produced by academics working in Thailand
- We have excellent resources, both paper and online, for supporting research including a Resource Centre with more than 10,000 publications on applied linguistics and access to important corpora and major databases
- We are a vibrant research community with regular forums and workshops by world-leading researchers
- There are opportunities to receive research funding, to join faculty research projects, and to earn money to help support your studies
- Thailand is a very welcoming culture, and the university is in a quiet suburb of Bangkok while allowing easy access to the city
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ห้องสมุด Resource Centre (RC) ชั้น 5 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 0-2470-8721
ศูนย์พัฒนาสมรรถนะสากล (Global Competence Development Centre) หรือเรียกสั้นๆ ว่า GCDC เป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการพัฒนา และยกระดับสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ และทักษะแห่งอนาคต โดยมุ่งเน้นการพัฒนานักศึกษา มจธ. สู่การเป็นพลเมืองโลก (Global Citizens) คือ มีความตระหนักรู้ในตนเอง (Know Yourself) เรียนรู้และเข้าใจผู้อื่น (Know Others) และ รับรู้ถึงความเปลี่ยนแปลงในบริบทของโลก (Know the world) สามารถปรับตัวภายใต้บริบทที่เปลี่ยนแปลง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
บริการส่งเสริมการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะ
- พื้นที่ส่งเสริมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ในบรรยากาศของ “Playground of Learning” ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านการเล่น เพื่อให้การเรียนรู้เป็นเรื่องสนุก ได้พัฒนาทักษะ แบ่งปันประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกัน และเปิดโลกการพัฒนาทักษะแห่งอนาคต เชื่อมต่อกับการสัมผัสประสบการณ์ใหม่ๆ ที่สร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองโลก
- สื่อส่งเสริมการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาตนเองด้านทักษะภาษาอังกฤษ และสมรรถนะสากล เช่น บอร์ดเกม ภาพยนตร์ หนังสือประเภทต่างๆ
- บริการทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษ กับแบบทดสอบ TETET (Test of English for Thai Engineers and Technologists) ในรูปแบบ computer-based เน้นทดสอบในทักษะการฟัง อ่าน เขียน และพูด เพื่อวัดระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษ และเตรียมความพร้อมในการศึกษาต่อ หรือการทำงานในอนาคต
- บริการประเมินความสามารถด้าน soft skills ในสมรรถนะต่างๆ เช่น การตระหนักรู้ในตนเอง (Self-awareness) ทักษะความมั่นใจในตนเอง (Confidence) ทัศนคติเชิงบวก (Positive attitudes) ทักษะการสื่อสาร (Communication) ทักษะความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) สมรรถนะการอยู่ในสังคมโลก (Global competence) เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความพร้อม และเพิ่มคุณค่าของตัวเองให้โดดเด่นกว่าคนอื่น
- Reskill & Upskill กับกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาความรู้ และทักษะ นอกห้องเรียน ที่จะช่วยพัฒนาทักษะด้านภาษา วัฒนธรรม และทักษะอื่นๆ ผ่านการเรียนรู้ (learn) และ ลงมือทำ (try)
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ศูนย์พัฒนาสมรรถนะสากล (GCDC) ชั้น 1 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 0-2470-8787
1. Research Discussions
Every month, a research discussion is held to provide opportunities for staff and students to share ideas and opinions regarding research topics, methodologies and other processes of conducting research including publishing research.
2. Other Research Seminars or Workshops
- Research Ethics
- Data Analysis for Research by Using R Program
- Drawing Implications from Data
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: หน่วยวิจัย ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 0-2470-8795
The 5th Doing Research in Applied Linguistics
This page contains an overview of the past conferences. Click on the conference of your choice to access more details and its proceeding.
Doing Research in Applied Linguistics 4 4 September 2021 | |
Doing Research in Applied Linguistics 3 / 19th English in South-East Asia Conference 2017 (DRAL 3/19th ESEA) 22-24 June 2017 | |
Doing Research in Applied Linguistics 12-14 June 2014 | |
Doing Research in Applied Linguistics 21-22 April 2011 | |
The 12th English in Southeast Asia Conference: Trends and Directions December 12-14, 2007 Website | |
Research in ELTPreceedings of the International Conference 9-11 April 2003 | |
AUTONOMY 2000: The Development of Learning Independence in Language Learning November 20 – 22 1996 | |
Seminar on Self Access Learning and Learner Idependence: A South East Asean Perspective 13-15 March 1995 |
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: หน่วยวิจัย ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 0-2470-8795
หนังสือภูมิปัญญาท้องถิ่นบางขุนเทียน
หนังสือภูมิปัญญาท้องถิ่น ทุ่งครุ
หนังสือภูมิปัญญาท้องถิ่น ราษฎรบูรณะ
หนังสือภูมิปัญญาท้องถิ่น จอมทอง
หนังสือภูมิปัญญาท้องถิ่น ธนบุรี
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ………………………………ชั้น 6 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: งานบริการวิชาการ ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 02-470-8796
- สำนักงานคณบดีคณะศิลปศาสตร์ ชั้น 7 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 02-470-8711
- สำนักงานวิชาศึกษาทั่วไป (Office of General Education) ชั้น 4 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 02-470-8782
- งานบริการวิชาการ ชั้น 2 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 02-470-8716
- ห้องสมุด Resource Centre (RC) ชั้น 5 คณะศิลปศาสตร์ มจธ.
- โทร. 0-2470-8721